1. หนังสือคู่มือการเลือกใช้งานวาล์ว
รหัสหนังสือ: 10307 ชื่อหนังสือ: คู่มือการเลือกใช้งานวาล์ว #Valve Selection handbook ISBN: 9746860313 ผู้แต่ง: R.W. Zappe ผู้แปล: นาวาอากาศโท ตระการ ก้าวกสิกรรม, พันโท พิศักดิ์ เจริญภัคดี สํานักพิมพ์ : เอ็มแอนด์อี ขนาด : 18.9 x 26.1 ซม. จํานวน: 336 หน้า ราคาปก 350 บาท #หนังสืองานวาล์ว #หนังสือวาล์ว หนังสือคู่มือการเลือกใช้งานวาล์ว เป็นหนังสือแนะนําการเลือกใช้งานวาล์วที่อธิบายถึงคุณลักษณะของวาล์วโดยครอบคลุม ความรู้พื้นฐานของโครงสร้างและการประยุกต์ใช้งานวาล์วและวิเคราะห์ถึงอันตรายต่างๆ และข้อกําหนดของสภาวะการไหลของของไหลทางอุตสาหกรรมทุกชนิด จึงเหมาะกับ วิศวกร ช่างเทคนิค ผู้ที่ทํางานเกี่ยวกับระบบท่อและวาล์ว ผู้ที่ทํางานในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับของไหลต่างๆ และการควบคุมการไหล สารบัญ บทที่ 1 บทนํา 1.1. ความรู้พื้นฐาน 1.2. วาล์วมือหนุน 1.3. #เช็ควาล์ว 1.4. ลาว์วระบาย #ความดัน 1.5. ลิ้นแตกระบายความดัน 1.6. หน่วยการวัด 1.7. การระบุขนาดวาล์วและชั้นความดัน 1.8. มาตรฐาน บทที่ 2 ความรู้พื้นฐาน 2.1. การผนึกแน่นของไหลของวาล์ว 2.2. กลไกการกันรั่ว 2.3. ส่วนปิดวาล์ว 2.4. #ปะเก็นแก๊สเก๊ต 2.5. ตัวกันรั่วก้านวาล์ว 2.6. การไหลผ่านวาล์ว บทที่ 3 #วาล์วมือหมุน 3.1. หน้าที่ของวาล์วมือหมุน 3.2. การจัดกลุ่มวาล์วตามวิธีควบคุมการไหล 3.3. การเลือกใช้งานวาล์ว 3.4. #โกล์บวาล์ว 3.5. #วาล์วลูกสูบ 3.6. #เกทวาล์วลิ้นขนาน 3.7. #เกทวาล์วลิ้นลิ่ม 3.8. #ปลั๊กวาล์ว 3.9. บอลวาล์ว 3.10. วาล์วปีกผีเสื้อ 3.11. พินช์วาล์ว 3.12. ไดอะแฟรมวาล์ว 3.13. วาล์วเหล็กกล้าไร้สนิม บทที่ 4. เช็ควาล์ว 4.1. การจําแนกประเภทเช็ควาล์ว 4.2. การทํางานของเช็ควาล์ว 4.3. ข้อกําหนดของเช็ควาล์วสําหรับการปิดอย่างรวดเร็ว 4.4. การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์กับการทํางานของเช็ควาล์ว 4.5. การออบแบบเช็ควาล์ว 4.6. การเลือกใช้งานวาล์ว บทที่ 5 #วาล์วระบายความดัน 5.1. ชนิดหลักของวาล์วระบายความดัน 5.2. ศัพท์บัญญัติ 5.3. วาล์วระบายความดันชนิดกระทําตรง 5.4. การทํางานของวาล์วระบายความดันชนิดกระทําตรง 5.5. การหน่วงการสั่นสะเทือนของลิ้นในวาล์วระบายความดัน 5.6. วาล์วระบายความดันชนิดกลไกนํา 5.7. การคํานวณการไหลผ่านวาล์วระบายความดันและระบบท่อร่วม 5.8. ตัวอย่างการคํานวณ บทที่ 6 ลิ้นแตกระบายความดัน 6.1. ศัพท์บัญญัติ 6.2. คําจํากัดความ 6.3. การประยุกต์ใช้งานลิ้นแตกระบายความดัน 6.4. เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของความดัน 6.5. การออกแบบและสมรรถนะของลิ้นแตกระบายความดันที่ทําด้วยโลหะเหนียว 6.6. การออกแบบและสมรรณะของลิ้นแจกระบายความดันที่ทําด้วยแกรไฟต์ 6.7. อุปกรณ์ยึดลิ้นแตกระบายความดัน 6.8. การประกอบแบบกวาดให้สะอาด 6.9. ห้องเปลี่ยนลิ้นเร็ว 6.10. การออกแบบการประกอบลิ้นคู่ 6.11. การออกแบบการรวมลิ้นแตกระบายความดันและวาล์วระบายความดันเข้าด้วยกัน 6.12. การหาขนาดลิ้นแตกระบายความดัน 6.13. ตัวบ่งวื้การระเบิดของลิ้นแตกระบายความดัน 6.14. การเลือกใช้งานลิ้นแตกระบายความดัน 6.15. การสั่งซื้อลิ้นแตกระบายความดันเพื่อใช้ทดแทน 6.16. การติดตั้งและการบํารุงรักษา 6.17. ความรับผิดชอบของผู้ใช้ 6.18. มาตรฐานที่เกี่ยวข้องลิ้นแตกระบายความดัน ภาคผนวก M&E(เอ็มแอนด์อี)